*** ชี้แจงโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup
โครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup สวัสดีครับทุกท่าน
ในช่วงนี้ทุกคนคงกำลังเตรียมตัวที่จะสอบข้อเขียน โครงการนิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต และเพื่อเป็นแรงผลักดันทุกท่านที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจ สามารถสอบเข้าให้ได้ตามที่มุ่งหวังไว้ TutorlawGroup จึงจัดโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” เหมือนเช่นทุกปีกำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ (สอบตรง)57 เหลือรอบเดียวคือ เรียนวันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2556 และ วันเสาร์ที่ 8 มกราคม 2557 เวลา 08.30 – 13.00 น. สอบวันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม 2557 องค์ประกอบวิชาและค่าน้าหนักแต่ละวิชาที่ใช้ในการสอบคัดเลือก (สอบข้อเขียน) รวม 100 คะแนน ดังนี้ 1. วิชาความถนัดทั่วไป (GAT รหัส 85) 30 % 2. วิชาภาษาอังกฤษ 10 % 3. วิชาเฉพาะ 60 % 3.1 วิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย 10 % 3.2 วิชาความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 30 % 3.3 วิชาเรียงความ 10 % 3.4 วิชาย่อความ 10 %
ส่วนการสอบเข้าโครงการนิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต ของผู้จบปริญญาตรีสาขาอื่นมาแล้วนั้น ของทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมีความแตกต่างดังนี้ กำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ & จุฬา (ภาคบัณฑิต)2557 รอบแรก เดือนกุมภาพันธ์ 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15เวลา 08.30 – 13.00 น. รอบที่สอง เดือนมีนาคม 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15 เวลา 08.30 – 13.00 น.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นิติ ธรรมศาสตร์ ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัคร 1 ตุลาคม 2556 – 31 มกราคม 2557 สอบวันที่ 30 มีนาคม 2557 1. ความรู้ทั่วไป 20 ข้อ 20 คะแนน 2. ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 15 ข้อ 30 คะแนน 3. ย่อความ 1 ข้อ 25 คะแนน 4. เรียงความ 1 ข้อ 25 คะแนน คลิ๊กเพื่อดูกำหนดการสอบนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ธรรมศาสตร์ ปี 2556จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – ข้อสอบอัตนัย (ข้อเขียน) ประมาณ 3 – 4 ข้อ และข้อสอบเรียงความ ย่อความ
คลิ๊กเพื่อดู กำหนดการสอบ ภาคบัณฑิต จุฬา ปี 2556 !!!นิติ จุฬา ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ ถึง 30 เมษายน 2557 สอบวันที่ 11 พฤษภาคม 2557 ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย ย่อความ เรียงความ 100 คะแนน ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมโทร 0859913533
tutorlawgroup fanpage
คลังความรู้สำหรับสอบเข้าคณะนิติศาสตร์
-
▼
2008
(54)
-
▼
สิงหาคม
(22)
- ข้อแนะนำเบื้องต้นสำหรับผู้สอบเข้าคณะนิติศาสตร์
- ที่ใดมีสังคม ที่นั่นย่อมมีกฎหมาย (Ubi societas , i...
- บรรทัดฐานทางสังคม
- ความหมายของ "กฎหมาย"
- การตีความกฎหมาย
- การอุดช่องว่างของกฎหมาย
- การยกเลิกกฎหมาย
- ลำดับศักดิ์กฎหมาย
- สิทธิ หน้าที่ ความรับผิด
- ระบบกฎหมายโลก
- ภาษาอังกฤษสำหรับสอบเข้าคณะนิติศาสตร์
- เทคนิคการเขียนเรียงความและการย่อความ
- เทคนิคการทำข้อสอบ SAT
- ความหมายของกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน
- การแบ่งประเภทกฎหมายในมุมมองของหลักศีลธรรม
- เกริ่นนำ: กฎหมายอาญา
- Nullum crimen nulla poena sine lege
- หลักการพื้นฐานอำนาจอธิปไตย (Sovereignty)
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา: หลักดินแดน
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา: หลักบุคคล
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา: หลักความผิดสากล
-
▼
สิงหาคม
(22)
วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2551
Nullum crimen nulla poena sine lege
หลักสำคัญของกฎหมายอาญาปรากฎอยู่ในสุภาษิตละตินโบราณว่า
Nullum crimen nulla poena sine lege
หรือแปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า
"No crime, no punishment without a previous penal law"
หรืออาจแปลเป็นภาษาไทยได้ดังนี้
---------------------------------
ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ เมื่อไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้
---------------------------------
ปรากฎอยู่ในกฎหมายไทยมาตรา มาตรา 2 ประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งวางหลักไว้ว่า
“บุคคลจักต้องรับโทษทางอาญาต่อเมื่อได้กระทำการอันกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำนั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำความผิดนั้นต้องเป็นโทษที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย ”
เมื่อบุคคลใดได้กระทำการอย่างใดลง และในขณะนั้น การกระทำนั้นไม่ถือเป็นความผิดอาญา ย่อมไม่อาจจะบัญญัติย้อนหลังไปได้ว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด
หลักดังกล่าวนี้เป็นหลักสภาพบังคับทางอาญาที่สำคัญซึ่งอาจจะถือได้ว่า เป็นหัวใจของกฎหมายอาญา หลักนี้ได้กล่าวถึงลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญาไว้ 4ประการคือ
1.กฎหมายอาญาต้องชัดเจนแน่นอน
2.ห้ามใช้กฎหมายจารีตประเพณีลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
3.ห้ามใช้กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
4.กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลัง
Nullum crimen nulla poena sine lege
หรือแปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า
"No crime, no punishment without a previous penal law"
หรืออาจแปลเป็นภาษาไทยได้ดังนี้
---------------------------------
ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ เมื่อไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้
---------------------------------
ปรากฎอยู่ในกฎหมายไทยมาตรา มาตรา 2 ประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งวางหลักไว้ว่า
“บุคคลจักต้องรับโทษทางอาญาต่อเมื่อได้กระทำการอันกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำนั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำความผิดนั้นต้องเป็นโทษที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย ”
เมื่อบุคคลใดได้กระทำการอย่างใดลง และในขณะนั้น การกระทำนั้นไม่ถือเป็นความผิดอาญา ย่อมไม่อาจจะบัญญัติย้อนหลังไปได้ว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด
หลักดังกล่าวนี้เป็นหลักสภาพบังคับทางอาญาที่สำคัญซึ่งอาจจะถือได้ว่า เป็นหัวใจของกฎหมายอาญา หลักนี้ได้กล่าวถึงลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญาไว้ 4ประการคือ
1.กฎหมายอาญาต้องชัดเจนแน่นอน
2.ห้ามใช้กฎหมายจารีตประเพณีลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
3.ห้ามใช้กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
4.กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลัง
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น