*** ชี้แจงโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup
โครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup สวัสดีครับทุกท่าน
ในช่วงนี้ทุกคนคงกำลังเตรียมตัวที่จะสอบข้อเขียน โครงการนิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต และเพื่อเป็นแรงผลักดันทุกท่านที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจ สามารถสอบเข้าให้ได้ตามที่มุ่งหวังไว้ TutorlawGroup จึงจัดโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” เหมือนเช่นทุกปีกำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ (สอบตรง)57 เหลือรอบเดียวคือ เรียนวันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2556 และ วันเสาร์ที่ 8 มกราคม 2557 เวลา 08.30 – 13.00 น. สอบวันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม 2557 องค์ประกอบวิชาและค่าน้าหนักแต่ละวิชาที่ใช้ในการสอบคัดเลือก (สอบข้อเขียน) รวม 100 คะแนน ดังนี้ 1. วิชาความถนัดทั่วไป (GAT รหัส 85) 30 % 2. วิชาภาษาอังกฤษ 10 % 3. วิชาเฉพาะ 60 % 3.1 วิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย 10 % 3.2 วิชาความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 30 % 3.3 วิชาเรียงความ 10 % 3.4 วิชาย่อความ 10 %
ส่วนการสอบเข้าโครงการนิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต ของผู้จบปริญญาตรีสาขาอื่นมาแล้วนั้น ของทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมีความแตกต่างดังนี้ กำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ & จุฬา (ภาคบัณฑิต)2557 รอบแรก เดือนกุมภาพันธ์ 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15เวลา 08.30 – 13.00 น. รอบที่สอง เดือนมีนาคม 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15 เวลา 08.30 – 13.00 น.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นิติ ธรรมศาสตร์ ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัคร 1 ตุลาคม 2556 – 31 มกราคม 2557 สอบวันที่ 30 มีนาคม 2557 1. ความรู้ทั่วไป 20 ข้อ 20 คะแนน 2. ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 15 ข้อ 30 คะแนน 3. ย่อความ 1 ข้อ 25 คะแนน 4. เรียงความ 1 ข้อ 25 คะแนน คลิ๊กเพื่อดูกำหนดการสอบนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ธรรมศาสตร์ ปี 2556จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – ข้อสอบอัตนัย (ข้อเขียน) ประมาณ 3 – 4 ข้อ และข้อสอบเรียงความ ย่อความ
คลิ๊กเพื่อดู กำหนดการสอบ ภาคบัณฑิต จุฬา ปี 2556 !!!นิติ จุฬา ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ ถึง 30 เมษายน 2557 สอบวันที่ 11 พฤษภาคม 2557 ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย ย่อความ เรียงความ 100 คะแนน ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมโทร 0859913533
tutorlawgroup fanpage
คลังความรู้สำหรับสอบเข้าคณะนิติศาสตร์
-
▼
2008
(54)
-
▼
สิงหาคม
(22)
- ข้อแนะนำเบื้องต้นสำหรับผู้สอบเข้าคณะนิติศาสตร์
- ที่ใดมีสังคม ที่นั่นย่อมมีกฎหมาย (Ubi societas , i...
- บรรทัดฐานทางสังคม
- ความหมายของ "กฎหมาย"
- การตีความกฎหมาย
- การอุดช่องว่างของกฎหมาย
- การยกเลิกกฎหมาย
- ลำดับศักดิ์กฎหมาย
- สิทธิ หน้าที่ ความรับผิด
- ระบบกฎหมายโลก
- ภาษาอังกฤษสำหรับสอบเข้าคณะนิติศาสตร์
- เทคนิคการเขียนเรียงความและการย่อความ
- เทคนิคการทำข้อสอบ SAT
- ความหมายของกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน
- การแบ่งประเภทกฎหมายในมุมมองของหลักศีลธรรม
- เกริ่นนำ: กฎหมายอาญา
- Nullum crimen nulla poena sine lege
- หลักการพื้นฐานอำนาจอธิปไตย (Sovereignty)
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา: หลักดินแดน
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา: หลักบุคคล
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา: หลักความผิดสากล
-
▼
สิงหาคม
(22)
วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2551
บรรทัดฐานทางสังคม
บรรทัดฐานทางสังคม คือ แบบแผนกฎเกณฑ์ข้อบังคับหรือมาตรฐานในการปฏิบัติของคนในสังคม เป็นสิ่งที่คนส่วนใหญ่ในสังคมยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ได้แก่ กฎ ระเบียบ แบบแผนความประพฤติต่าง ๆ.
ความสำคัญของบรรทัดฐานต่อการจัดระเบียบทางสังคม คือ เป็นแนวทางในการกำหนดพฤติกรรมของสมาชิกในสังคมและให้มีความเข้าใจร่วมกัน อันจะทำให้มีการประพฤติปฏิบัติในแนวเดียวกัน
ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคมสามารถแบ่งได้ 3 ประเภท
1. วิถีชาวบ้านหรือวิถีประชา (Folkways)
เป็นแนวทางปฏิบัติของทุกคนจนเกิดความเคยชินจน กลายเป็นชีวิตปกติของมนุษย์ เป็นการปฏิบัติด้วยความสมัครใจ ไม่มีการบังคับ ไม่มีบทลงโทษสำหรับผู้ที่ฝ่าฝืน เพียงแต่อาจจะถูกตำหนิเยาะเย้ยถากถาง หรือการนินทาจากผู้อื่นทำให้สมาชิกต้องปฏิบัติตามและวิถีประชาอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ เพื่อปรับเหมาะกับยุคสมัยนั้นๆ เช่น มารยามในการแต่งกาย มารยาทในการรับประทานอาหาร เป็นต้น
2.จารีตประเพณี (Morals)
เป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อสังคม หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกตำหนิ ดูหมิ่นเหยียดหยามจากสังคม เช่น ชายและหญิงต้องเข้าพิธีมงคลสมรสตามประเพณี เป็นต้น จารีตประเพณีต่างกับวิถีประชาเพราะมีศีลธรรมเข้ามาเกี่ยวด้วย มีข้อห้ามและข้อควรกระทำหากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกสังคมประณามอย่างรุนแรง กฎศีลธรรมมักเป็นข้อห้าม เป็นกฎข้อบังคับ และมีเรื่องของศีลธรรมความรับผิดชอบชั่วดีเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยมาก
ตัวอย่างของกฎศีลธรรมหรือจารีตของไทย เช่น ลูกจะด่าทอ หรือทำร้ายพ่อแม่ไม่ได้
3.กฎหมาย (Laws)
กฎเกณฑ์หรือข้อบังคับที่รัฐบัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรโดยองค์การทางการเมืองการปกครองและได้รับการรับรองจากองค์การของรัฐ เพื่อควบคุมบุคคลในสังคม หากผู้ใดฝ่าฝืนย่อมได้รับการลงโทษตามกฎหมาย ได้แก่ ระเบียบ ข้อบังคับ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา และพระราชบัญญัติ หากผู้ใดฝ่าฝืน ตามปกติย่อมถูกลงโทษตามที่กำหนดไว้
ความสำคัญของบรรทัดฐานต่อการจัดระเบียบทางสังคม คือ เป็นแนวทางในการกำหนดพฤติกรรมของสมาชิกในสังคมและให้มีความเข้าใจร่วมกัน อันจะทำให้มีการประพฤติปฏิบัติในแนวเดียวกัน
ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคมสามารถแบ่งได้ 3 ประเภท
1. วิถีชาวบ้านหรือวิถีประชา (Folkways)
เป็นแนวทางปฏิบัติของทุกคนจนเกิดความเคยชินจน กลายเป็นชีวิตปกติของมนุษย์ เป็นการปฏิบัติด้วยความสมัครใจ ไม่มีการบังคับ ไม่มีบทลงโทษสำหรับผู้ที่ฝ่าฝืน เพียงแต่อาจจะถูกตำหนิเยาะเย้ยถากถาง หรือการนินทาจากผู้อื่นทำให้สมาชิกต้องปฏิบัติตามและวิถีประชาอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ เพื่อปรับเหมาะกับยุคสมัยนั้นๆ เช่น มารยามในการแต่งกาย มารยาทในการรับประทานอาหาร เป็นต้น
2.จารีตประเพณี (Morals)
เป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อสังคม หากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกตำหนิ ดูหมิ่นเหยียดหยามจากสังคม เช่น ชายและหญิงต้องเข้าพิธีมงคลสมรสตามประเพณี เป็นต้น จารีตประเพณีต่างกับวิถีประชาเพราะมีศีลธรรมเข้ามาเกี่ยวด้วย มีข้อห้ามและข้อควรกระทำหากผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกสังคมประณามอย่างรุนแรง กฎศีลธรรมมักเป็นข้อห้าม เป็นกฎข้อบังคับ และมีเรื่องของศีลธรรมความรับผิดชอบชั่วดีเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยมาก
ตัวอย่างของกฎศีลธรรมหรือจารีตของไทย เช่น ลูกจะด่าทอ หรือทำร้ายพ่อแม่ไม่ได้
3.กฎหมาย (Laws)
กฎเกณฑ์หรือข้อบังคับที่รัฐบัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรโดยองค์การทางการเมืองการปกครองและได้รับการรับรองจากองค์การของรัฐ เพื่อควบคุมบุคคลในสังคม หากผู้ใดฝ่าฝืนย่อมได้รับการลงโทษตามกฎหมาย ได้แก่ ระเบียบ ข้อบังคับ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา และพระราชบัญญัติ หากผู้ใดฝ่าฝืน ตามปกติย่อมถูกลงโทษตามที่กำหนดไว้
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น