*** ชี้แจงโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup
โครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup สวัสดีครับทุกท่าน
ในช่วงนี้ทุกคนคงกำลังเตรียมตัวที่จะสอบข้อเขียน โครงการนิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต และเพื่อเป็นแรงผลักดันทุกท่านที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจ สามารถสอบเข้าให้ได้ตามที่มุ่งหวังไว้ TutorlawGroup จึงจัดโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” เหมือนเช่นทุกปีกำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ (สอบตรง)57 เหลือรอบเดียวคือ เรียนวันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2556 และ วันเสาร์ที่ 8 มกราคม 2557 เวลา 08.30 – 13.00 น. สอบวันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม 2557 องค์ประกอบวิชาและค่าน้าหนักแต่ละวิชาที่ใช้ในการสอบคัดเลือก (สอบข้อเขียน) รวม 100 คะแนน ดังนี้ 1. วิชาความถนัดทั่วไป (GAT รหัส 85) 30 % 2. วิชาภาษาอังกฤษ 10 % 3. วิชาเฉพาะ 60 % 3.1 วิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย 10 % 3.2 วิชาความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 30 % 3.3 วิชาเรียงความ 10 % 3.4 วิชาย่อความ 10 %
ส่วนการสอบเข้าโครงการนิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต ของผู้จบปริญญาตรีสาขาอื่นมาแล้วนั้น ของทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมีความแตกต่างดังนี้ กำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ & จุฬา (ภาคบัณฑิต)2557 รอบแรก เดือนกุมภาพันธ์ 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15เวลา 08.30 – 13.00 น. รอบที่สอง เดือนมีนาคม 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15 เวลา 08.30 – 13.00 น.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นิติ ธรรมศาสตร์ ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัคร 1 ตุลาคม 2556 – 31 มกราคม 2557 สอบวันที่ 30 มีนาคม 2557 1. ความรู้ทั่วไป 20 ข้อ 20 คะแนน 2. ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 15 ข้อ 30 คะแนน 3. ย่อความ 1 ข้อ 25 คะแนน 4. เรียงความ 1 ข้อ 25 คะแนน คลิ๊กเพื่อดูกำหนดการสอบนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ธรรมศาสตร์ ปี 2556จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – ข้อสอบอัตนัย (ข้อเขียน) ประมาณ 3 – 4 ข้อ และข้อสอบเรียงความ ย่อความ
คลิ๊กเพื่อดู กำหนดการสอบ ภาคบัณฑิต จุฬา ปี 2556 !!!นิติ จุฬา ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ ถึง 30 เมษายน 2557 สอบวันที่ 11 พฤษภาคม 2557 ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย ย่อความ เรียงความ 100 คะแนน ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมโทร 0859913533
tutorlawgroup fanpage
คลังความรู้สำหรับสอบเข้าคณะนิติศาสตร์
-
▼
2008
(54)
-
▼
สิงหาคม
(22)
- ข้อแนะนำเบื้องต้นสำหรับผู้สอบเข้าคณะนิติศาสตร์
- ที่ใดมีสังคม ที่นั่นย่อมมีกฎหมาย (Ubi societas , i...
- บรรทัดฐานทางสังคม
- ความหมายของ "กฎหมาย"
- การตีความกฎหมาย
- การอุดช่องว่างของกฎหมาย
- การยกเลิกกฎหมาย
- ลำดับศักดิ์กฎหมาย
- สิทธิ หน้าที่ ความรับผิด
- ระบบกฎหมายโลก
- ภาษาอังกฤษสำหรับสอบเข้าคณะนิติศาสตร์
- เทคนิคการเขียนเรียงความและการย่อความ
- เทคนิคการทำข้อสอบ SAT
- ความหมายของกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน
- การแบ่งประเภทกฎหมายในมุมมองของหลักศีลธรรม
- เกริ่นนำ: กฎหมายอาญา
- Nullum crimen nulla poena sine lege
- หลักการพื้นฐานอำนาจอธิปไตย (Sovereignty)
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา: หลักดินแดน
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา: หลักบุคคล
- ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา: หลักความผิดสากล
-
▼
สิงหาคม
(22)
วันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2551
การแบ่งประเภทกฎหมายในมุมมองของหลักศีลธรรม
1. Mala In se (การกระทำที่เป็นความผิดในตัวของมันเอง)
การกระทำความผิดในกรณีนี้นั้น ไม่ว่าจะกระทำลงในสถานที่ใด ยุคสมัยใด เวลาใด และไม่ว่าผู้กระทำเป็นผู้ใดก็ตาม คนในสังคมมีความคิดเห็นไปในทางเดียวกันว่าการกระทำนั้นผิดและผู้กระทำควรถูกลงโทษ เช่น ความผิดฐานฆ่าผู้อื่น ทำร้ายร่างกาย ลักทรัพย์ เป็นต้น ซึ่งคนทั่วโลกมีความผิดเห็นไปในทางเดียวกันว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด ดังนั้น ศีลธรรม ศาสนาจึงเป็นตัวกำหนดที่สำคัญของการกระทำที่เป็นความผิดต่อกฎหมายของการกระทำที่เป็นความผิดในตัวของมันเอง
------------------------------------------------------------------------------------
2. Mala Prohibita (การกระทำที่กฎหมายกำหนดให้เป็นความผิด)
โดยปกติแล้วการกระทำกรณีนี้ไม่ได้เป็นความผิดในตัวของมันเอง แต่รัฐกำหนดขึ้นมาว่าการกระทำเช่นนี้เป็นความผิดอาญาเพื่อประโยชน์ของคนในรัฐนั้นเอง เช่น รัฐออกกฎหมายจราจรควบคุมการใช้ท้องถนน เป็นต้น และเอาโทษทางอาญาแก่ผู้ที่ฝ่าฝืนกฎจราจรนั้น ดังนั้นผู้ที่ไม่สวมหมวกกันน็อคเวลาขับขี่รถจักรยานยนต์จึงไม่ผิดศีลธรรม แต่รัฐเล็งเห็นว่าย่อมไม่ปลอดภัยต่อคนในรัฐของตน รัฐจึงจำเป็นต้องกำหนดว่าหากผู้ใดที่ไม่สวมหมวกกันน็อคเวลาขับขี่รถจักรยานยนต์ การกระทำเช่นว่านั้นย่อมเป็นความผิด
การกระทำความผิดในกรณีนี้นั้น ไม่ว่าจะกระทำลงในสถานที่ใด ยุคสมัยใด เวลาใด และไม่ว่าผู้กระทำเป็นผู้ใดก็ตาม คนในสังคมมีความคิดเห็นไปในทางเดียวกันว่าการกระทำนั้นผิดและผู้กระทำควรถูกลงโทษ เช่น ความผิดฐานฆ่าผู้อื่น ทำร้ายร่างกาย ลักทรัพย์ เป็นต้น ซึ่งคนทั่วโลกมีความผิดเห็นไปในทางเดียวกันว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด ดังนั้น ศีลธรรม ศาสนาจึงเป็นตัวกำหนดที่สำคัญของการกระทำที่เป็นความผิดต่อกฎหมายของการกระทำที่เป็นความผิดในตัวของมันเอง
------------------------------------------------------------------------------------
2. Mala Prohibita (การกระทำที่กฎหมายกำหนดให้เป็นความผิด)
โดยปกติแล้วการกระทำกรณีนี้ไม่ได้เป็นความผิดในตัวของมันเอง แต่รัฐกำหนดขึ้นมาว่าการกระทำเช่นนี้เป็นความผิดอาญาเพื่อประโยชน์ของคนในรัฐนั้นเอง เช่น รัฐออกกฎหมายจราจรควบคุมการใช้ท้องถนน เป็นต้น และเอาโทษทางอาญาแก่ผู้ที่ฝ่าฝืนกฎจราจรนั้น ดังนั้นผู้ที่ไม่สวมหมวกกันน็อคเวลาขับขี่รถจักรยานยนต์จึงไม่ผิดศีลธรรม แต่รัฐเล็งเห็นว่าย่อมไม่ปลอดภัยต่อคนในรัฐของตน รัฐจึงจำเป็นต้องกำหนดว่าหากผู้ใดที่ไม่สวมหมวกกันน็อคเวลาขับขี่รถจักรยานยนต์ การกระทำเช่นว่านั้นย่อมเป็นความผิด
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น