คู่มือเตรียมสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ สอบตรง ภาคบัณฑิต (208 หน้า)

*** ชี้แจงโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup

โครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup สวัสดีครับทุกท่าน
ในช่วงนี้ทุกคนคงกำลังเตรียมตัวที่จะสอบข้อเขียน โครงการนิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต และเพื่อเป็นแรงผลักดันทุกท่านที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจ สามารถสอบเข้าให้ได้ตามที่มุ่งหวังไว้ TutorlawGroup จึงจัดโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” เหมือนเช่นทุกปี
กำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ (สอบตรง)57 เหลือรอบเดียวคือ เรียนวันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2556 และ วันเสาร์ที่ 8 มกราคม 2557 เวลา 08.30 – 13.00 น. สอบวันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม 2557 องค์ประกอบวิชาและค่าน้าหนักแต่ละวิชาที่ใช้ในการสอบคัดเลือก (สอบข้อเขียน) รวม 100 คะแนน ดังนี้ 1. วิชาความถนัดทั่วไป (GAT รหัส 85) 30 % 2. วิชาภาษาอังกฤษ 10 % 3. วิชาเฉพาะ 60 % 3.1 วิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย 10 % 3.2 วิชาความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 30 % 3.3 วิชาเรียงความ 10 % 3.4 วิชาย่อความ 10 %
ส่วนการสอบเข้าโครงการนิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต ของผู้จบปริญญาตรีสาขาอื่นมาแล้วนั้น ของทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมีความแตกต่างดังนี้ กำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ & จุฬา (ภาคบัณฑิต)2557 รอบแรก เดือนกุมภาพันธ์ 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15เวลา 08.30 – 13.00 น. รอบที่สอง เดือนมีนาคม 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15 เวลา 08.30 – 13.00 น.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นิติ ธรรมศาสตร์ ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัคร 1 ตุลาคม 2556 – 31 มกราคม 2557 สอบวันที่ 30 มีนาคม 2557 1. ความรู้ทั่วไป 20 ข้อ 20 คะแนน 2. ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 15 ข้อ 30 คะแนน 3. ย่อความ 1 ข้อ 25 คะแนน 4. เรียงความ 1 ข้อ 25 คะแนน คลิ๊กเพื่อดูกำหนดการสอบนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ธรรมศาสตร์ ปี 2556
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – ข้อสอบอัตนัย (ข้อเขียน) ประมาณ 3 – 4 ข้อ และข้อสอบเรียงความ ย่อความ
คลิ๊กเพื่อดู กำหนดการสอบ ภาคบัณฑิต จุฬา ปี 2556 !!!
นิติ จุฬา ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ ถึง 30 เมษายน 2557 สอบวันที่ 11 พฤษภาคม 2557 ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย ย่อความ เรียงความ 100 คะแนน ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมโทร 0859913533

วันพุธที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2553

กฎหมายลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของโรมัน

เมื่อกล่าวถึงกฎหมายลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของอาณาจักรโรมันแล้ว

มีหลายคนที่อาจจะเข้าใจผิดว่า
กฎหมายลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของอาณาจักรโรมัน คือ ประมวลกฎหมายจัสติเนียน(Justinian Code)ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ ค.ศ.565

ตามประวัติศาสตร์ที่แท้จริงนั้น ก่อน ค.ศ. 450 (450 B.C.) มีการสร้างกฎหมายลายลักษณ์อักษรขึ้นมาฉบับแรก โดยการเรียกร้องของชนชั้นต่ำ(PLEBEIAN)เพื่อเป็นการจำกัดอำนาจของชนชั้นสูง(PATRICIAN)ให้ตีความ หรือปรับใชกฎหมายในกรอบกฎหมายลายลักษณ์อักษร มิใช่ตามอำเภอใจอีกต่อไป

อย่่างไรก็ตาม กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่มีการสร้างขึ้น จะเป็นไปในรูปแบบรวมรวมกฎหมายเดิมที่มีอยู่แล้ว(IUS CIVILE)มิใช่เป็นการร่างขึ้นมาใหม่ โดยการรวบรวมนั้นเป็นการเอา IUS CIVILE มาจารึกบนแผ่นทองแดง 12 แผ่น และนำแผ่นทองแดงนั้นไปวางไว้กลางใจเมือง พลเมืองในโรมันสามารถไปยืนอ่านได้ทุกคน

เรารู้จักกฎหมายนั้นในนามของ "กฎหมายสิบสองโต๊ะ" (The Twelve of Tables)

นับว่ากฏหมายสิบสองโต๊ะมีความสำคัญ และเป็นรากฐานของกระบวนการนิติบัญญัติของกฏหมายโรมันในยุคหลัง ๆ เลยทีเดียว

ไม่มีความคิดเห็น: