*** ชี้แจงโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup
โครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup สวัสดีครับทุกท่าน
ในช่วงนี้ทุกคนคงกำลังเตรียมตัวที่จะสอบข้อเขียน โครงการนิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต และเพื่อเป็นแรงผลักดันทุกท่านที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจ สามารถสอบเข้าให้ได้ตามที่มุ่งหวังไว้ TutorlawGroup จึงจัดโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” เหมือนเช่นทุกปีกำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ (สอบตรง)57 เหลือรอบเดียวคือ เรียนวันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2556 และ วันเสาร์ที่ 8 มกราคม 2557 เวลา 08.30 – 13.00 น. สอบวันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม 2557 องค์ประกอบวิชาและค่าน้าหนักแต่ละวิชาที่ใช้ในการสอบคัดเลือก (สอบข้อเขียน) รวม 100 คะแนน ดังนี้ 1. วิชาความถนัดทั่วไป (GAT รหัส 85) 30 % 2. วิชาภาษาอังกฤษ 10 % 3. วิชาเฉพาะ 60 % 3.1 วิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย 10 % 3.2 วิชาความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 30 % 3.3 วิชาเรียงความ 10 % 3.4 วิชาย่อความ 10 %
ส่วนการสอบเข้าโครงการนิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต ของผู้จบปริญญาตรีสาขาอื่นมาแล้วนั้น ของทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมีความแตกต่างดังนี้ กำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ & จุฬา (ภาคบัณฑิต)2557 รอบแรก เดือนกุมภาพันธ์ 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15เวลา 08.30 – 13.00 น. รอบที่สอง เดือนมีนาคม 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15 เวลา 08.30 – 13.00 น.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นิติ ธรรมศาสตร์ ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัคร 1 ตุลาคม 2556 – 31 มกราคม 2557 สอบวันที่ 30 มีนาคม 2557 1. ความรู้ทั่วไป 20 ข้อ 20 คะแนน 2. ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 15 ข้อ 30 คะแนน 3. ย่อความ 1 ข้อ 25 คะแนน 4. เรียงความ 1 ข้อ 25 คะแนน คลิ๊กเพื่อดูกำหนดการสอบนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ธรรมศาสตร์ ปี 2556จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – ข้อสอบอัตนัย (ข้อเขียน) ประมาณ 3 – 4 ข้อ และข้อสอบเรียงความ ย่อความ
คลิ๊กเพื่อดู กำหนดการสอบ ภาคบัณฑิต จุฬา ปี 2556 !!!นิติ จุฬา ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ ถึง 30 เมษายน 2557 สอบวันที่ 11 พฤษภาคม 2557 ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย ย่อความ เรียงความ 100 คะแนน ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมโทร 0859913533
tutorlawgroup fanpage
คลังความรู้สำหรับสอบเข้าคณะนิติศาสตร์
-
▼
2009
(73)
-
▼
ตุลาคม
(39)
- รวมประเด็นสำคัญ ... ก่อนสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ ครั้ง...
- รวมประเด็นสำคัญ ... ก่อนสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ ครั้ง...
- นักกฎหมายที่ดีในทัศนคติของข้าพเจ้า_ณัฐนันท์ ใจมูล
- นักกฎหมายที่ดีในทัศนคติของท่าน_สิริพร เวทชกิจ
- ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับคำกล่าวที่ว่า นักกฎหมาย...
- ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับโทษประหารชีวิต
- รวมประเด็นสำคัญ ... ก่อนสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ ครั้ง...
- รวมประเด็นสำคัญ ... ก่อนสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ ครั้ง...
- การนับระยะเวลาตามกฎหมาย
- คุณธรรม จริยธรรม ของนักกฎหมาย _ สิริพร เวทชกิจ
- บทบาทนักกฎหมายต่อสังคม_นางสาวนิภาพร มีคำ
- ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับสถาบันกวดวิชา_Apinya
- ข่าวประชาสัมพันธ์ หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคบัณฑ...
- เมื่อความรักถามหา "ความยุติธรรม" (บทความดี ๆ จาก M...
- หลักวิชาชีพของนักกฎหมาย_Apinya
- คุณธรรมและจริยธรรมของนักกฎหมาย_Apinya
- กฎหมายกับความยุติธรรมสิ่งใดสำคัญมากกว่ากัน_Apinya
- คุณธรรม จริยธรรมของนักกฎหมาย_สิริพร เวทชกิจ
- กฎหมายในฐานะเครื่องมือตัดสินปัญหา_ทศพร โคตะมะ
- Jus aequum กับนักศึกษานิติศาสตร์ (โดยผศ. ดร. พรรณร...
- คุณสมบัติที่ดีของนักกฎหมาย 3 ประการ_Apinya
- คุณธรรม จริยธรรม ของนักกฎหมาย_สิริพร
- จริยธรรม นักกฎหมาย และสังคม มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
- กฎหมายกับความยุติธรรมสิ่งใดสำคัญกว่ากัน_ทศพร โคตะมะ
- กฎหมายมหาชนคืออะไร? (บทความจาก Pub-law.net)
- ศาลมิใช่พหูสูต นักกฎหมายมิได้รู้ทุกเรื่อง (บทความจ...
- กฎหมายในฐานะเครื่องมือตัดสินปัญหา_Warawoot Chewprecha
- การแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตต...
- วิธีการเพื่อความปลอดภัย
- นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรกับสถานการณ์การเมืองใน...
- ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่ว่าสถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุ...
- การยกเลิกโทษประหารชีวิต
- ผู้ศึกษากฎหมายควรมีลักษณะอย่างไร
- แนวข้อสอบชุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย และชุดควา...
- สถานการณ์ปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหา
- การที่ผู้พิพากษาตัดสินประหารจำเลย จะเป็นบาปหรือไม่
- วิชาชีพที่ข้าพเจ้าใฝ่ฝัน
- ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่ว่าสถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุ...
- นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรกับสถานการณ์การเมืองใน...
-
▼
ตุลาคม
(39)
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552
Jus aequum กับนักศึกษานิติศาสตร์ (โดยผศ. ดร. พรรณรายรัตน์ ศรีไชยรัตน์)
หากน้อง ๆ ได้อ่านบทความนี้จะทำให้เข้าใจ คำศัพท์กฎหมายที่เกี่ยวกับ Jus Aequum และ Jus strictum ได้มากขึ้นครับ
ขอขอบคุณ ผศ. ดร. พรรณรายรัตน์ ศรีไชยรัตน์ ที่ได้เขียนบทความดี ๆ เช่นนี้ครับ
Jus aequum กับนักศึกษานิติศาสตร์ (โดยผศ. ดร. พรรณรายรัตน์ ศรีไชยรัตน์)
ได้นำมาจาก http://www.law.cmu.ac.th/admin/journal/up_pic/46915.pdf ขอบคุณมากครับ
ขอขอบคุณ ผศ. ดร. พรรณรายรัตน์ ศรีไชยรัตน์ ที่ได้เขียนบทความดี ๆ เช่นนี้ครับ
Jus aequum กับนักศึกษานิติศาสตร์ (โดยผศ. ดร. พรรณรายรัตน์ ศรีไชยรัตน์)
ได้นำมาจาก http://www.law.cmu.ac.th/admin/journal/up_pic/46915.pdf ขอบคุณมากครับ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น