*** ชี้แจงโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup
โครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup สวัสดีครับทุกท่าน
ในช่วงนี้ทุกคนคงกำลังเตรียมตัวที่จะสอบข้อเขียน โครงการนิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต และเพื่อเป็นแรงผลักดันทุกท่านที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจ สามารถสอบเข้าให้ได้ตามที่มุ่งหวังไว้ TutorlawGroup จึงจัดโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” เหมือนเช่นทุกปีกำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ (สอบตรง)57 เหลือรอบเดียวคือ เรียนวันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2556 และ วันเสาร์ที่ 8 มกราคม 2557 เวลา 08.30 – 13.00 น. สอบวันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม 2557 องค์ประกอบวิชาและค่าน้าหนักแต่ละวิชาที่ใช้ในการสอบคัดเลือก (สอบข้อเขียน) รวม 100 คะแนน ดังนี้ 1. วิชาความถนัดทั่วไป (GAT รหัส 85) 30 % 2. วิชาภาษาอังกฤษ 10 % 3. วิชาเฉพาะ 60 % 3.1 วิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย 10 % 3.2 วิชาความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 30 % 3.3 วิชาเรียงความ 10 % 3.4 วิชาย่อความ 10 %
ส่วนการสอบเข้าโครงการนิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต ของผู้จบปริญญาตรีสาขาอื่นมาแล้วนั้น ของทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมีความแตกต่างดังนี้ กำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ & จุฬา (ภาคบัณฑิต)2557 รอบแรก เดือนกุมภาพันธ์ 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15เวลา 08.30 – 13.00 น. รอบที่สอง เดือนมีนาคม 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15 เวลา 08.30 – 13.00 น.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นิติ ธรรมศาสตร์ ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัคร 1 ตุลาคม 2556 – 31 มกราคม 2557 สอบวันที่ 30 มีนาคม 2557 1. ความรู้ทั่วไป 20 ข้อ 20 คะแนน 2. ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 15 ข้อ 30 คะแนน 3. ย่อความ 1 ข้อ 25 คะแนน 4. เรียงความ 1 ข้อ 25 คะแนน คลิ๊กเพื่อดูกำหนดการสอบนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ธรรมศาสตร์ ปี 2556จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – ข้อสอบอัตนัย (ข้อเขียน) ประมาณ 3 – 4 ข้อ และข้อสอบเรียงความ ย่อความ
คลิ๊กเพื่อดู กำหนดการสอบ ภาคบัณฑิต จุฬา ปี 2556 !!!นิติ จุฬา ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ ถึง 30 เมษายน 2557 สอบวันที่ 11 พฤษภาคม 2557 ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย ย่อความ เรียงความ 100 คะแนน ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมโทร 0859913533
tutorlawgroup fanpage
วันอังคารที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2552
ประเภทของสัญญา
1 สัญญาต่างตอบแทนกับสัญญาไม่ต่างตอบแทน
สัญญาต่างตอบแทน คือสัญญาที่คู่สัญญาต่างฝ่ายต่างเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน เช่นสัญญาซื้อขาย โดยผู้ขายต้องโอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้ซื้อ ส่วนผู้ซื้อต้องชำระราคาให้ผู้ขาย (ผู้ซื้อและผู้ขายต่างฝ่ายต่างเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน)
สัญญาไม่ต่างตอบแทน คือสัญญาที่คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งใดฝ่ายหนึ่งเป็นเจ้าหนี้และอีกฝ่ายหนึ่งเป็นลูกหนี้เช่นสัญญายืม ผู้ให้ยืมมีฐานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้ยืมเท่านั้น ผู้ให้ยืมไม่ได้มีฐานะเป็นลูกหนี้ ดังนั้นผู้ให้ยืมมีสิทธิบังคับเอากับทรัพย์ที่ตนให้ยืม ส่วนผู้ยืมซึ่งเป็นลูกหนี้มีหน้าที่ต้องส่งมอบรถคืน
2 สัญญามีค่าตอบแทนกับสัญญาไม่มีค่าตอบแทน
สัญญามีค่าตอบแทน คือ สัญญาที่คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจะต้องเสียค่าตอบแทนเพื่อแลกกับประโยชน์ที่จะได้รับในลักษณะเดียวกัน เช่น ราคาแลกกับสินค้าในสัญญาซื้อขาย
สัญญาไม่มีค่าตอบแทน คือ สัญญาที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเพียงฝ่ายเดียวที่ได้รับประโยชน์ในทรัพย์นั้นโดยที่ไม่ต้องเสียอะไรเลย เช่น สัญญายืม สัญญาให้โดยเสน่หา
3 แบ่งตามชื่อของสินค้า คือ สัญญาที่มีชื่อกับสัญญาที่ไม่มีชื่อ
สัญญามีชื่อ หรือเอกเทศสัญญา คือสัญญาที่พบและใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน จึงจำเป็นต้องมีกฎหมายที่ชัดเจนและเหมาะสมกับแต่ละสัญญา เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาฝากทรัพย์ เป็นต้น
สัญญาที่ไม่มีชื่อ คือ ข้อตกลงของคู่สัญญาที่ทำขึ้นเอง โดยไม่มีลักษณะดังเช่นเอกเทศสัญญา
สัญญาต่างตอบแทน คือสัญญาที่คู่สัญญาต่างฝ่ายต่างเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน เช่นสัญญาซื้อขาย โดยผู้ขายต้องโอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้ซื้อ ส่วนผู้ซื้อต้องชำระราคาให้ผู้ขาย (ผู้ซื้อและผู้ขายต่างฝ่ายต่างเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน)
สัญญาไม่ต่างตอบแทน คือสัญญาที่คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งใดฝ่ายหนึ่งเป็นเจ้าหนี้และอีกฝ่ายหนึ่งเป็นลูกหนี้เช่นสัญญายืม ผู้ให้ยืมมีฐานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้ยืมเท่านั้น ผู้ให้ยืมไม่ได้มีฐานะเป็นลูกหนี้ ดังนั้นผู้ให้ยืมมีสิทธิบังคับเอากับทรัพย์ที่ตนให้ยืม ส่วนผู้ยืมซึ่งเป็นลูกหนี้มีหน้าที่ต้องส่งมอบรถคืน
2 สัญญามีค่าตอบแทนกับสัญญาไม่มีค่าตอบแทน
สัญญามีค่าตอบแทน คือ สัญญาที่คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจะต้องเสียค่าตอบแทนเพื่อแลกกับประโยชน์ที่จะได้รับในลักษณะเดียวกัน เช่น ราคาแลกกับสินค้าในสัญญาซื้อขาย
สัญญาไม่มีค่าตอบแทน คือ สัญญาที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเพียงฝ่ายเดียวที่ได้รับประโยชน์ในทรัพย์นั้นโดยที่ไม่ต้องเสียอะไรเลย เช่น สัญญายืม สัญญาให้โดยเสน่หา
3 แบ่งตามชื่อของสินค้า คือ สัญญาที่มีชื่อกับสัญญาที่ไม่มีชื่อ
สัญญามีชื่อ หรือเอกเทศสัญญา คือสัญญาที่พบและใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน จึงจำเป็นต้องมีกฎหมายที่ชัดเจนและเหมาะสมกับแต่ละสัญญา เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาฝากทรัพย์ เป็นต้น
สัญญาที่ไม่มีชื่อ คือ ข้อตกลงของคู่สัญญาที่ทำขึ้นเอง โดยไม่มีลักษณะดังเช่นเอกเทศสัญญา
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น