*** ชี้แจงโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup
โครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” by TutorlawGroup สวัสดีครับทุกท่าน
ในช่วงนี้ทุกคนคงกำลังเตรียมตัวที่จะสอบข้อเขียน โครงการนิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต และเพื่อเป็นแรงผลักดันทุกท่านที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจ สามารถสอบเข้าให้ได้ตามที่มุ่งหวังไว้ TutorlawGroup จึงจัดโครงการ “ติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ สอบตรง & ภาคบัณฑิต ปี 2557” เหมือนเช่นทุกปีกำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ (สอบตรง)57 เหลือรอบเดียวคือ เรียนวันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2556 และ วันเสาร์ที่ 8 มกราคม 2557 เวลา 08.30 – 13.00 น. สอบวันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม 2557 องค์ประกอบวิชาและค่าน้าหนักแต่ละวิชาที่ใช้ในการสอบคัดเลือก (สอบข้อเขียน) รวม 100 คะแนน ดังนี้ 1. วิชาความถนัดทั่วไป (GAT รหัส 85) 30 % 2. วิชาภาษาอังกฤษ 10 % 3. วิชาเฉพาะ 60 % 3.1 วิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย 10 % 3.2 วิชาความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 30 % 3.3 วิชาเรียงความ 10 % 3.4 วิชาย่อความ 10 %
ส่วนการสอบเข้าโครงการนิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต ของผู้จบปริญญาตรีสาขาอื่นมาแล้วนั้น ของทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมีความแตกต่างดังนี้ กำหนดการติวเข้มสอบเข้านิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ & จุฬา (ภาคบัณฑิต)2557 รอบแรก เดือนกุมภาพันธ์ 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15เวลา 08.30 – 13.00 น. รอบที่สอง เดือนมีนาคม 57 เรียนวันเสาร์ที่ 8 และ 15 เวลา 08.30 – 13.00 น.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นิติ ธรรมศาสตร์ ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัคร 1 ตุลาคม 2556 – 31 มกราคม 2557 สอบวันที่ 30 มีนาคม 2557 1. ความรู้ทั่วไป 20 ข้อ 20 คะแนน 2. ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย 15 ข้อ 30 คะแนน 3. ย่อความ 1 ข้อ 25 คะแนน 4. เรียงความ 1 ข้อ 25 คะแนน คลิ๊กเพื่อดูกำหนดการสอบนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ธรรมศาสตร์ ปี 2556จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – ข้อสอบอัตนัย (ข้อเขียน) ประมาณ 3 – 4 ข้อ และข้อสอบเรียงความ ย่อความ
คลิ๊กเพื่อดู กำหนดการสอบ ภาคบัณฑิต จุฬา ปี 2556 !!!นิติ จุฬา ภาคบัณฑิต เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ ถึง 30 เมษายน 2557 สอบวันที่ 11 พฤษภาคม 2557 ความสามารถในการใช้เหตุผลทางกฎหมาย ย่อความ เรียงความ 100 คะแนน ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมโทร 0859913533
tutorlawgroup fanpage
วันพุธที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
ความหมายของหนี้
หนี้ คือ ความผูกพันทางกฎหมายระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย ซึ่งฝ่ายหนึ่งเรียกว่า "เจ้าหนี้" และ อีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า "ลูกหนี้"
เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาแก่ลูกหนี้ ในทางกลับกัน ลูกหนี้ก็มีหน้าที่ชำระตามที่เจ้าหนี้เรียกร้อง
ถ้ากล่าวคำว่า “หนี้” นั้นจะมีความหมายเช่นเดียวกับ บุคคลสิทธิ, สิทธิเหนือบุคคล และสิทธิเรียกร้องนั้น
ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหนี้และลูกหนี้จึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล อาจเรียกได้ว่าเป็นบุคคลสิทธิระหว่างกัน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า บุคคลสิทธิเป็นสิทธิที่ใช้ยันระหว่างคู่กรณี(เจ้าหนี้-ลูกหนี้) นั่นเอง
ดังนั้น หากนายเอกผู้เป็นบิดาติดหนี้นายโทหลายสิบล้าน นายโทเจ้าหนี้จะมาบังคับเอากับนายตรีผู้เป็นลูกนายเอกไม่ได้ เพราะนายโทกับนายตรีไม่มีบุคคลสิทธิใด ๆ ต่อกัน หรือพูดอีกอย่างว่าไม่มีหนี้ใด ๆ ต่อกัน
เมื่อปรากฎว่าลูกหนี้ไม่กระทำตามหน้าที่ในสิทธิเรียกร้องที่เจ้าหนี้มีอยู่นั้น เจ้าหนี้ต้องบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ ซึ่งการบังคับชำระหนี้นั้นจำเป็นต้องใช้สิทธิทางศาลเท่านั้น ซึ่งหมายความว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาทางแพ่งโดยฟ้องคดีต่อศาลเท่านั้น
เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาแก่ลูกหนี้ ในทางกลับกัน ลูกหนี้ก็มีหน้าที่ชำระตามที่เจ้าหนี้เรียกร้อง
ถ้ากล่าวคำว่า “หนี้” นั้นจะมีความหมายเช่นเดียวกับ บุคคลสิทธิ, สิทธิเหนือบุคคล และสิทธิเรียกร้องนั้น
ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหนี้และลูกหนี้จึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล อาจเรียกได้ว่าเป็นบุคคลสิทธิระหว่างกัน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า บุคคลสิทธิเป็นสิทธิที่ใช้ยันระหว่างคู่กรณี(เจ้าหนี้-ลูกหนี้) นั่นเอง
ดังนั้น หากนายเอกผู้เป็นบิดาติดหนี้นายโทหลายสิบล้าน นายโทเจ้าหนี้จะมาบังคับเอากับนายตรีผู้เป็นลูกนายเอกไม่ได้ เพราะนายโทกับนายตรีไม่มีบุคคลสิทธิใด ๆ ต่อกัน หรือพูดอีกอย่างว่าไม่มีหนี้ใด ๆ ต่อกัน
เมื่อปรากฎว่าลูกหนี้ไม่กระทำตามหน้าที่ในสิทธิเรียกร้องที่เจ้าหนี้มีอยู่นั้น เจ้าหนี้ต้องบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ ซึ่งการบังคับชำระหนี้นั้นจำเป็นต้องใช้สิทธิทางศาลเท่านั้น ซึ่งหมายความว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาทางแพ่งโดยฟ้องคดีต่อศาลเท่านั้น
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น